Friday, November 9, 2018

Yayoi Kusama in Bangkok Art Biennale 2018 Thailand



































































                                                          ศาสตราจารย์ สันติ เล็กสุขุม : ราชบัณฑิต













Yayui Kusama 


เธอรับเชิญ ให้ผลงานของเธอมาแสดงที่พาราก้อน ชั่น 1

เธออายุกว่า 80 ปี ป่วยทางจิตประสาทมาตั้งแต่เด็ก แต่เธอเอาชนะความเจ็บป่วยได้ด้วยความมุ่งมั่นในการทำศิลปะหลายอย่างโดยเฉพาะงานเขียนภาพ จุด จุด จุด ๆ ๆ ตลอดมา จุดโน้นแบบนั่นนี่ จุดนี้แบบนั้น แบบต่างๆๆๆๆ

ความมุ่งมั่นของเธอสะท้อนที่งานจุดๆจุดๆจุด ๆๆๆ... ไม่เหนื่อยหน่าย ไม่เสื่อมคลาย กลายเป็นตัวตนพิเศษ ที่ประหลาด งามแปลกไปจากผลงานของผู้อื่น

นับเป็นความสำคัญยิ่งใหญ่ จุดประกายความคิดและแนวทางให้ศิลปินคนอื่นกล้าก้าวออกจากพันธนาการโดยได้คิด ได้เห็น ได้เข้าใจทางแนวของตนเอง

                  Emeritus Professor  Dr.  Santi Leksukhum : Royal Scholar . 










ในสายเลือด

เมื่อวานนี้(๗ ต.ค.) น่าแปลกใจไม่น้อย ถ้าจะรู้ว่า ในวงการศิลปะได้มีปรากฎการณ์ที่ยิ่งใหญ่เกิดขึ้น เมื่อ“ศาสตราจารย์ สันติ เล็กสุขุม” ได้โคจรมาพบกับศิลปินอาวุโส “พีเซียน”(นภดล โชตะสิริ) ผู้ที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในถ้ำ ได้โครจรมาพบกันกลางห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน และถล้ำกลางสายตาทุกคนที่จับจ้องมอง ๒ ศิลปินผู้ใหญ่นี้ ที่กำลังแลกเปลี่ยนการถ่ายรูปซึ่งกันและกันอย่างเมามัน บริเวณหน้าผลงานของ “ยาโยอิ คุซามะ” ที่งดงาม ปรากฎการณ์นี้ย่อมแสดงให้เห็นว่าเลือดศิลปินนั้น แม้ว่าจะแก่หรือหนุ่ม นั้น ไม่เคยอยู่่ห่างจากศิลปะเลย...... มันอยู่ในสายเลือดจริงๆครับ






                        คุณนภดล โชตะสิริ หนึ่งในทีมงานผู้บุกเบิกนิตยสารลลนา
























                           A.Srijai Kuntawang @ Central World 
                                             

















Got to know Srijai Kuntawang,  Artist from ChiangMai


SK: For more than 20 years, as I continued to work with woodcuts and printmaking my works drastically changed. Such works of art are not well known in Thailand because the process is quite complex, more than painting, but my passion in printmaking began from ancient textiles and I want to preserve the imagination of our ancestors which can tell the thinking and creativity on clothing. Then I study the patterns from various items in Buddhism. This will show the way of nature and faith of people and the pilgrimage journey to the Maha Chedi (the great pagoda) on the high mountain. I use elephants as symbols to travel uphill. Flowers fall down to congratulate the act of merit. Trees and flowers are symbols of strength and beauty. There are some fish in the water to show the abundance of natural resources. Turtles stand for the longevity of age. From the same period. I use a big peacock to illustrate as a sign of observing present events from the beauty of colors, figures and their eyes .

มาทำความรู้จักอาจารย์ศรีใจกันทะวังที่งานแสดงของ ศิลปินระดับโลก ยายูอิ คูซามะ ในงาน ฺBangkok Art Biennale 2018  กันค่ะ 


ศรีใจ: มากกว่ายี่สิบปีแล้วที่ผมทำงานกับพิมพ์แกะไม้และภาพพิมพ์งานของผมก็ เปลี่ยนไปมาก งานศิลปะประเภทนี้ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักในประเทศไทยเพราะว่าขั้นตอนมีความซับซ้อนมากกว่าการเขียนภาพ แต่ความชอบในการทำภาพพิมพ์ของผมเริ่มมาจากลายทอผ้าโบราณ และผมอยากจะรักษาจินตนาการของบรรพบุรุษซึ่งสามารถจะบอกถึงการคิดและการสร้างสรรค์ในเรื่องเสื้อผ้า จากนั้นผมศึกษาลวดลายจากวัตถุหลายสิ่งในพระพุทธศาสนา สิ่งนี้แสดงถึงวิถีธรรมชาติความเชื่อของคนและการเดินทางแสวงบุญไปยังมหาเจดีย์บนภูเขาสูง ผมใช้ช้างเป็นสัญลักษณ์ของการเดินทางขึ้นเขา ดอกไม้ร่วงหล่นลงมาเป็นการแสดงความยินดีในการทำความดี ต้นไม้และดอกไม้เป็นสัญลักษณ์แทนความแข็งแกร่งและ
ความงดงาม มีปลาในน้ำแสดงความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ เต่าแสดงถึงชีวิตที่ยืนยาว ในช่วงเดียวกันนั้นผมใช้นกยูงตัวใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของผู้สังเกตการณ์ในปัจจุบันจากความสวยงามของสีสัน รูปร่างลักษณะและดวงตาที่สื่อความหมายในการเฝ้ามอง ระแวดระวัง










Srijai Kuntawang

อ. ศรีใจ กันทะวัง


SK: Printmaking is one of the visual arts that is not common in Thailand but it has an important role in many countries such as Japan, Europe and America. The problem is that the technique is high in cost because of the equipment. The process is repetitive but only one picture is made from a wood block print. I try to teach some students about woodcut in a relief process. This is the same as linocut. Printmaking from wood is more durable than the linocut. We can select the type of wood. In Thailand, the wood to make prints comes from masonite and plywood. The size is large enough, very dense and cheap in cost. When we cut the image it will be sharp enough for printing. We use offset ink from oil colors which is very bright. In Japan, they use water color. Other essential tools are rollers and barens. We can rub the back of paper using a hand-made baren that fits the palm of the hand. The oil to remove the ink must be carefully selected according to safety and availability. In the near future, I will use this place to be a workshop and studio. People can observe how I work and view the gallery. This is a project that is ready for everyone at Srijai Art Studio Mae Tang Chiang Mai.

ศรีใจ: งานภาพพิมพ์เป็นหนึ่งในงานทัศนศิลป์ที่พบได้ไม่บ่อยในประเทศไทยแต่มีบทบาทสำคัญในหลายๆ ประเทศเช่นญี่ปุ่น ยุโรปและอเมริกา ปัญหาคือว่าเทคนิคมีค่าใช้จ่ายสูงเนื่องจากอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำซ้ำไปมาแต่มีเพียงภาพเดียวเท่านั้น
ที่สมบูรณ์ จากที่ทำมาจากแม่พิมพ์แกะไม้ผมพยายามสอนนักศึกษาเรื่องการแกะไม้แบบแม่พิมพ์นูนซึ่งเป็นแบบเดียวกันกับ
แม่พิมพ์แกะจากยาง การทำภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้นั้นมีความทนทานกว่าแม่พิมพ์ที่ทำจากยาง เราสามารถเลือกประเภทของไม้ได้ ในประเทศไทยไม้ที่เอาไว้ทำภาพพิมพ์มาจากกระดานไฟเบอร์และไม้อัด เพราะขนาดใหญ่พอมีความแน่นมากและมีราคาถูก ถ้าเราตัดภาพออกมาก็จะมีความคมชัดพอสำหรับการพิมพ์เราใช้หมึกพิมพ์ออฟเซตจากสีน้ำมันซึ่งมีความแวววาว มาก ในประเทศญี่ปุ่นจะใช้
สีน้ำ อุปกรณ์ที่จำเป็นอีกอย่างหนึ่งคือลูกกลิ้งและไม้สำหรับถูกระดาษ เราสามารถถูด้านหลังกระดาษด้วยแท่งไม้ที่ทำขึ้นมาเองได้ซึ่งมีขนาดพอดีกับฝ่ามือของเราน้ำมันสำหรับลบสีจะต้องเลือกอย่างระมัดระวังตามความปลอดภัยและเราสามารถหามาใช้ได้ ในอนาคตอันใกล้ผมจะสถานที่แห่งนี้เป็นห้องสอนและสตูดิโอ คนที่มาสามารถมาดูผมทำงานและเข้าชมแกลเลอรี่ภาพได้ นี่เป็นโครงการที่จะพร้อมที่จะ
เป็นที่แสดงขั้นตอนการทำงาน ซึ่งขณะนี้พร้อมแล้วที่ศรีใจอาร์ตสตูดิโอ อำเภอแม่แตง เชียงใหม่ 



No comments:

Post a Comment

Temp song