MOCA Museum of Contemporary Art
499 Kamphaengphet 6 Road, Ladyao, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand
(+66) 2 016-5666-7
(+66) 2 016-5670
info@mocabangkok.com
พลุตม์ มารอด : แว่วเสียงสวรรค์
(English caption please scroll down)
พลุตม์ มารอด ศิลปินหนุ่มผู้ร่ำรวยอารมณฝันฟุ้ง เขาเชื่อว่า “ผู้หญิงเป็นเพศที่มีความสลับซับซ้อน ทางความรู้สึกสูง “ แม้นิทรรศการครั้งนี้จะตั้งแนวคิดออกมาแนวนามธรรม พลุตม์ก็สามารถดึงเอาความเป็น “หญิง” มาสร้างสรรค์ผลงานที่ชื่อ ‘แวว่าเสียงสวรรค์’ศิลปินนำเสนอเรื่องการกำเนิดของเทพ กระบวนการเริ่มต้นตั้งแต่การการบำเพ็ญเพียรในฐานะมนุษย์ที่เจริญภาวนาจนเกิดสติปัญญา เรื่อยไปจนถึงช่วงชีวิตหลังความตายที่เกิดเป็นโอปปาติกะก่อนนำผลบุญที่สร้างสมมาหลอมรวมเป็นพลังเพื่อไปเกิดใหม่เป็นเทพ โดยพลุตย์เลือกนำเรือนร่างของสตรีมาใช้เป็นสัญลักษณ์ สตรีผู้เป็นตัวแทนที่สามารถสื่อสารได้ทั้งความดี ความบริสุทธิ์ และความชั่วร้าย
He is currently showcasing mixed technique works delving into perspectives on the human form; continuing a pattern throughout his career of using the body to express the notion of what is and can be beautiful.
The work called “The Heavenly Voices Heard in the Distance”, the artist presents a story of the birth of divine beings— starting from practicing perseverance as human beings who practice the Dharma until they attain mindfulness and discernment to the life after death which they have spontaneous birth or Opapatika, followed by being reborn as divine beings according to their accumulated good deeds. The artist chooses a woman’s body as a symbol. A woman symbolizes the virtue, the purity, and the wickedness. Apart from the woman as a main symbol in his work, the artist employs the complementary colors like white and black in order to emphasize the virtue and the wickedness more clearly. The white smooth and lustrous surface is created meticulously with the artist’s unique style, while the black surface is created with a new technique— the thickness of the paint and the use of brushes to make the uneven texture, and the form of continuous movements.
Salah Warin Jang @ MOCA
The exhibition “Faith Beyond Earth”
20th October – 20th December, 2018
Opening 20th October 2018 / 4 pm.
To celebrate Bangkok Art Biennale 2018
MOCA celebrates the international art exhibitions — Bangkok Art Biennale 2018 held in Thailand for the first time with group expositions, consisting of 2 national artists and 16 new generation artists in total under the theme of “Faith Beyond Earth”.
Faith and beliefs are inseparable from Thai people as part of our inheritance. Originally, Thai people paid respect to ghosts, worshipped divine beings or devas, and believed in sacred beings until Buddhism was first propagated in Suvarnabhumi (the Land of Gold for the ancient Southeast Asia). The faith and beliefs are a result of what Buddhist teachings have combined with inherited rites. Therefore, rites of Brahminism, Buddhism, and ghosts are inseparable. For example, Thai people worship Buddha images, but at the same time they pay respect to divine beings and give sacrificial offerings to household spirits. The deep-seated faith and beliefs in Thai people’s spirituality are different from people in Asia. Thailand has remarkable rites which are so attractive to be discovered, particularly the western people who are curious to know about them.
The faith and beliefs— which are abstract, invisible, and intangible— are transformed into a concrete material through various forms of art works, conveying the meaning of the faith and beliefs nurtured in the spirituality of each individual artist. They grow and expand to art works. Some artists sarcastically present the faith and beliefs, while the others view them as accumulated merits. Darkness or brightness, satire, sarcasm, and a sign of the transformation from the abstract into the concrete— all meanings are differently conveyed by each individual artist’s imagination and interpretation.
The exhibition “Faith Beyond Earth” presents the faith and beliefs through art works created by 18 artists. We feel very honored to exhibit the works of two National Artists— Dr. Chalermchai Kositpipat and Mr. Panya Vijinthanasarn— as well as well-known artists and rising artists— Mr. Thongchai Srisukprasert, Mr. Roengsak Boonyawanichkul, Mr. Alongkorn Laowatthana, Mr. Chatchawan Rodklongtan, Mr. Thanarit Thipwaree, Mr. Krit Ngamsom, Mr. Manut Lao-on, Mr. Siroj Phuangbubpja, Mr. Palut Marod, Mr. Jakkee Kongkeaw, Mr. Verapong Sritrakulkitjakarn, Ms. Jiranan Julrabot, Mr. Warawut Tourawong, Mr. Teerawat Nutcharoenpol, Mr. Home-Sawan Umansap, and Ms. Parichart Suphaphan. On this occasion, it is an honor to have Mr. Tawatchai Somkong— the editor of the Fine Art Magazine— to be a curator for this exhibition.
พลุตม์ มารอด : แว่วเสียงสวรรค์
(English caption please scroll down)
พลุตม์ มารอด ศิลปินหนุ่มผู้ร่ำรวยอารมณฝันฟุ้ง เขาเชื่อว่า “ผู้หญิงเป็นเพศที่มีความสลับซับซ้อน ทางความรู้สึกสูง “ แม้นิทรรศการครั้งนี้จะตั้งแนวคิดออกมาแนวนามธรรม พลุตม์ก็สามารถดึงเอาความเป็น “หญิง” มาสร้างสรรค์ผลงานที่ชื่อ ‘แวว่าเสียงสวรรค์’ศิลปินนำเสนอเรื่องการกำเนิดของเทพ กระบวนการเริ่มต้นตั้งแต่การการบำเพ็ญเพียรในฐานะมนุษย์ที่เจริญภาวนาจนเกิดสติปัญญา เรื่อยไปจนถึงช่วงชีวิตหลังความตายที่เกิดเป็นโอปปาติกะก่อนนำผลบุญที่สร้างสมมาหลอมรวมเป็นพลังเพื่อไปเกิดใหม่เป็นเทพ โดยพลุตย์เลือกนำเรือนร่างของสตรีมาใช้เป็นสัญลักษณ์ สตรีผู้เป็นตัวแทนที่สามารถสื่อสารได้ทั้งความดี ความบริสุทธิ์ และความชั่วร้าย
He is currently showcasing mixed technique works delving into perspectives on the human form; continuing a pattern throughout his career of using the body to express the notion of what is and can be beautiful.
The work called “The Heavenly Voices Heard in the Distance”, the artist presents a story of the birth of divine beings— starting from practicing perseverance as human beings who practice the Dharma until they attain mindfulness and discernment to the life after death which they have spontaneous birth or Opapatika, followed by being reborn as divine beings according to their accumulated good deeds. The artist chooses a woman’s body as a symbol. A woman symbolizes the virtue, the purity, and the wickedness. Apart from the woman as a main symbol in his work, the artist employs the complementary colors like white and black in order to emphasize the virtue and the wickedness more clearly. The white smooth and lustrous surface is created meticulously with the artist’s unique style, while the black surface is created with a new technique— the thickness of the paint and the use of brushes to make the uneven texture, and the form of continuous movements.
Salah Warin Jang @ MOCA
The exhibition “Faith Beyond Earth”
20th October – 20th December, 2018
Opening 20th October 2018 / 4 pm.
To celebrate Bangkok Art Biennale 2018
MOCA celebrates the international art exhibitions — Bangkok Art Biennale 2018 held in Thailand for the first time with group expositions, consisting of 2 national artists and 16 new generation artists in total under the theme of “Faith Beyond Earth”.
Faith and beliefs are inseparable from Thai people as part of our inheritance. Originally, Thai people paid respect to ghosts, worshipped divine beings or devas, and believed in sacred beings until Buddhism was first propagated in Suvarnabhumi (the Land of Gold for the ancient Southeast Asia). The faith and beliefs are a result of what Buddhist teachings have combined with inherited rites. Therefore, rites of Brahminism, Buddhism, and ghosts are inseparable. For example, Thai people worship Buddha images, but at the same time they pay respect to divine beings and give sacrificial offerings to household spirits. The deep-seated faith and beliefs in Thai people’s spirituality are different from people in Asia. Thailand has remarkable rites which are so attractive to be discovered, particularly the western people who are curious to know about them.
The faith and beliefs— which are abstract, invisible, and intangible— are transformed into a concrete material through various forms of art works, conveying the meaning of the faith and beliefs nurtured in the spirituality of each individual artist. They grow and expand to art works. Some artists sarcastically present the faith and beliefs, while the others view them as accumulated merits. Darkness or brightness, satire, sarcasm, and a sign of the transformation from the abstract into the concrete— all meanings are differently conveyed by each individual artist’s imagination and interpretation.
The exhibition “Faith Beyond Earth” presents the faith and beliefs through art works created by 18 artists. We feel very honored to exhibit the works of two National Artists— Dr. Chalermchai Kositpipat and Mr. Panya Vijinthanasarn— as well as well-known artists and rising artists— Mr. Thongchai Srisukprasert, Mr. Roengsak Boonyawanichkul, Mr. Alongkorn Laowatthana, Mr. Chatchawan Rodklongtan, Mr. Thanarit Thipwaree, Mr. Krit Ngamsom, Mr. Manut Lao-on, Mr. Siroj Phuangbubpja, Mr. Palut Marod, Mr. Jakkee Kongkeaw, Mr. Verapong Sritrakulkitjakarn, Ms. Jiranan Julrabot, Mr. Warawut Tourawong, Mr. Teerawat Nutcharoenpol, Mr. Home-Sawan Umansap, and Ms. Parichart Suphaphan. On this occasion, it is an honor to have Mr. Tawatchai Somkong— the editor of the Fine Art Magazine— to be a curator for this exhibition.
นิทรรศการ “ศรัทธา : Faith Beyond Earth” ผลงานโดยศิลปินแห่งชาติและศิลปินรุ่นใหม่รวม 18 ท่าน จัดแสดงระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม - 20 ธันวาคม 2561 และจะมีพิธีเปิดในวันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2561 เวลา 16.00 น. ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย : MOCA Museum of Contemporary Art
นิทรรศการ “ศรัทธา – Faith Beyond Earth”
20 ตุลาคม – 20 ธันวาคม 2561
พิธีเปิดนิทรรศการ วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2561 เวลา 16.00 น.
MOCA ร่วมเฉลิมฉลองเทศการศิลปะระดับโลกที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทย Bangkok Art Biennale 2018 ด้วยการจัดนิทรรรศการกลุ่มของศิลปินแห่งชาติและศิลปินรุ่นใหม่รวม 18 ท่าน ภายใต้แนวคิด “ศรัทธา”
ศรัทธาความเชื่อเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับตั้งแต่กำเนิดชาติ ดั้งเดิมแต่ครั้งปู่ยา คนไทยไหว้ผี กราบเทพ นับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จวบเมื่อพุทธศาสนาเผยแผ่มาสู่แผ่นดินสุวรรณภูมิ ศรัทธาความเชื่อหลอมรวมพระธรรมคำสอนเข้ากับพิธีกรรมที่สืบทอด พิธีกรรมของพราหมณ์ พุทธ และผี จึงแยกจากกันแทบไม่ออก คนไทยกราบพระพุทธรูป ในขณะเดียวกันก็ไหว้เทพ พลีกรรมให้ผีเหย้าผีเรือน เป็นต้น ศรัทธาความเชื่อที่ฝังรากอยู่ในจิตวิญญาณของคนไทยแตกต่างไปจากผู้คนในภูมิภาคเอเซีย มีลักษณพิธีกรรมที่โด่ดเด่น ชวนให้ค้นหาโดยเฉพาะคนในชาติตะวันตกให้ความสนใจใคร่รู้
ศรัทธาและความเชื่อ เป็นนามธรรมที่มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ นำมาแปรเป็นรูปธรรมผ่านงานศิลปะหลากหลายรูปแบบ ส่งผ่านนัยยะแห่งความศรัทธาเชื่อถือที่มีเมล็ดพันธุ์อยู่ในจิตวิญญาญของศิลปินแต่ละคน เติบกล้าและแผ่กิ่งก้านออกไปสู่งานศิลปะ บางคนอาจะนำเอาความเชื่อมาเย้ยหยันเสียดสี หรือสำหรับบางคนศรัทธาความเชื่ออาจจะเป็นเรื่องของกฤษดาภินิหาร มืดฤาสว่าง เสียดสี หยามหยัน สัญญะแห่งนามธรรมแปรสารเป็นรูปธรรม ต่างคน ต่างจิต ต่างคิด ต่างจินตนาการ ตีความประกอบสื่อความแตกต่างกันออกไป
นิทรรศการ “ศรัทธา – Faith Beyond Earth” นำศรัทธาความเชื่อออกมานำเสนอในงานศิลปะผ่านศิลปิน18 ท่าน โดยได้รับเกียรติจาก 2 ศิลปินแห่งชาติ ศาสตรเมธี ดร. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และอาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร พร้อมศิลปินชื่อดังและศิลปินดาวรุ่ง อาทิ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ, เริงศักดิ์ บุณยวาณิชย์กุล, อลงกรณ์ หล่อวัฒนา, ชัชวาล รอดคลองตัน, ธนฤษภ์ ทิพย์วารี, กฤช งามสม, พลุตม์ มารอด, มนัส เหลาอ่อน, สิโรจน์ พวงบุบผา, จักรี คงแก้ว, วีรพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ, จิรนันท์ จุลบท, วราวุฒิ โตอุรวงศ์, ธีรวัฒน์ นุชเจริญผล, ห่มสวรรค์ อู่ม่านทรัพย์ และปาริชาติ ศุภพันธ์ โดยได้รับเกียรติจากธวัชชัย สมคง – บรรณาธิการนิตยสารไฟล์อาร์ต ให้เกียรติเป็นคิวเรเตอร์ในทรรศการครั้งนี้
ดูแบบนิ่งๆดิ่งไปลึกๆ❤
หลายครั้งหลายงานดีๆที่พลาดโอกาสไปในวันเปิด แต่จะไม่พลาดที่จะหาเวลาที่มากพอให้ตัวเองได้เดิน ได้นิ่ง ได้ค้นหา ได้เก็บพลังกลับมา งานแบบนี้ต้องได้ยืนคุยกับงาน..มันคือชาร์ทพลังงานอย่างดี
ขอแสดงความยินดีกับศิลปินทุกๆท่านคะ
นิทรรศการ "ศรัทธา"โดย18 ศิลปินชื่อดัง
MOCA Bangkok 》》20ตค.-20ธค.2018
ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ
Thongchai Srisukprasert
ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ
Thongchai Srisukprasert
ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ
Thongchai Srisukprasert
อาจารย์เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์:ศิลปินแห่งชาติ
Chalermchai Kositpipat: National Artist
ชัชวาล รอดคลองตัน Chatchawan Rodklongtan
ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ
Thongchai Srisukprasert
Sirot Puangbubpa
Thai lacquer works or Lai Rod Nam which is considered the ancient technique of Thai craftsmen. For the lacquer works since the past, patterns are first drafted with lines drawn by the use of realgar.The work called “the Contemporary Tipitaka Cabinet No.10”, completely unfolds the stories inside the artist’s mind. the mutual conclusion through the three-sided Tipitaka cabinet: Lord Buddha, Dharma or Buddhist teachings, and Buddhist monks.
สิโรจน์ พวงบุบผา
สิโรจน์ พวงบุบผา จิตรกรไทยรุ่นใหม่ เจ้าของรางวัลเหรียญทองบัวหลวง 3 ปีซ้อน ศิลปินหนุ่มวัย 30 ปี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับ 1 และระดับปริญญาโท จากภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ซึ่งบ่มเพาะให้เขามีพื้นฐานการศึกษาด้านงานจิตรกรรมไทยแบบประเพณีอย่างลึกซึ้ง โดยเขามุ่งศึกษางานจิตรกรรมประเภทเอกรงค์ ได้แก่ งานลายรดน้ำ งานลายทองและลายกำมะลอ เทคนิคลายรดน้ำ ที่ถือเป็นเทคนิคโบราณของนายช่างไทย การสร้างลายรดน้ำที่กระทำมาตั้งแต่สมัยอดีตก่อนเริ่มจรดเส้นสายสีทองลงไปเราต้องร่างเส้นกำหนดลวดลายโดยเรียกเส้นนั้นว่าเส้นหรดาล และเขียนลายทับลงไป ผลงาน ‘ตู้พระไตรปิฎกร่วมสมัยหมายเลข 10’ การสร้างบทสรุปร่วมกันผ่านตู้สามด้านของตู้พระไตรปิฎกทั้งใบ นั่นก็คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
Teerawat N. Josh
นิทรรศการ "Faith Beyond Earth - ศรัทธา"
ภัณฑรักษ์ : ธวัชชัย สมคง
จัดแสดง : ชั้น G ห้องนิทรรศการหมนุเวียน
20 ตุลาคม - 20 ธันวาคม 2561
The exhibition "Faith beyond Earth - ศรัทธา"
Curator: Mr.Tawatchai Somkong
Location: G Floor, Temporary Exhibition Room 1 and 2
On view: 20 October -20 December 2018
Salah warin @ Parichart Suphaphan's sculpture
ปาริชาติ ศุภพันธ์
ปาริชาติ ศุภพันธ์
MOCA Museum of Contemporary Art
Temporarily joining our iconic lotus sculpture is a mud-mould turned acrylic sculpture by Alongkorn Lauwatthana. Also by him is the collection of 75 pieces of the work called "A Gathering of Divine Beings." It is a combination of abstract and fine drawings of divine gods or what Thai called "Tep" and "Tewada"
ฟ้าใส วันดีที่จะมาชมผลงานชุด'ทะเลจันทร์'ที่จัดแสดงอยู่ในสวนของพิพิธภัณฑ์ มีจุดเริ่มตนจากการสร้างสรรค์ผ้าผะหวาด คิดเป็นผลงานจิตรกรรม ขนาด 1.40 x 6000 เมตร ที่แจกจ่ายไปทัวเพื่อใช่ในงานบุญผะเหวดถวายในหลวงรัชกาลที่ 9 หลังจากที่พระองค์เสด็จสวรรคต สื่อถึงความรักและศรัทธาที่มีให้ศาสนาและพระมหากษัตริย์
What a perfect day to come visit @mocabangkok especially when there is this outdoor artwork waiting for you to come appreciate the screen blocks that were used to make ceremonial clothes used by the Northeastern people. Although patterns appeared in these blocks are not exact replicas of the clothes themselves, one can feel Umansap's faith and generosity through the traces of paint being swept up and down countless screen blocks.
ห่มสวรรค์ อู่ม่านทรัพย์
Home-sawan Umansap
ส่วนเล็กๆจากภาพจิตรกรรม 5.5 x 12 เมตร ที่ใช้ชื่อ “เทพชุมนุม” ของอลงกรณ์ หล่อวัฒนา ถ้าดูเผินๆ จะดูเหมือนเป็นงานนามธรรม เป็นงานสมัยใหม่ แต่เมื่อเข้าไปดูใกล้ๆ จะเห็นว่า มันมีงานไทยซ่อนอยู่ ความโดดเด่นของงานนี้คือการใช้สีอะคริลิคที่ผลิตโดยคนไทย โดยบริษัท Artistic Paints Co., Ltd.
วราวุฒิ โตอุรวงศ์
ศิลปินหนุ่มที่เลือกความเรียบง่ายคือโจทย์หลัก เขาเลือกใช้วัสดุพื้นฐานในงานเพ้นท์อย่าง gesso ซึ่งเป็นสีรองพื้นมาเป็นวัสดุหลักในการสร้างผลงานคล้ายการย้อนกระบวนการทั้งหมดสู่จุดเริ่มต้น ทั้งสี ทั้งพื้นผิว ทั้งรูปทรงของพระพุทธรูปแต่ละยุคสมัยที่มีเพียงเค้าโครงบนพื้นสีต่างๆ ที่เรียบแบน จากกระบวนการสร้างผลงานที่ออกแบบขึ้นใหม่ส่งผลให้ช่วงเวลาการทำงานจึงมีทั้งความผิดพลาดและเรื่องที่ต้องแก้ไขปรับเปลี่ยน ทุกฝีแปรงที่ทาลงไป ทุกรอยการขัดพื้นผิวให้เรียบต้องทำทีละขั้นตอนไม่สามารถสร้างทางลัดได้ ผลงานชุด ‘Images of the Buddha on Canvas’ คือการย้อนกลับมาตั้งคำถามภายในจิตใจของตนเองว่าความเชื่อและศาสนาคืออะไร แก่นของศาสนาคือความเรียบง่าย พิจารณาความเรียบง่ายกับเอกลักษณ์ในผลงานของเขา การละทิ้งความคุ้นเคยไปสู่การทดลองเพื่อย้อนกลับมาตอบคำถามในความเชื่อของตนเอง
Warawut Tourawong
The work called “Images of the Buddha on Canvas” makes us look back and ask ourselves inside a question of what beliefs and a religion are— what stays around us from the womb to tomb, what we firmly believe and follow? The essence of the religion is simplicity— the middle path or the moderate practice. The artist began with considering the simplicity and identities in his works and leaving his familiarity to experiments in order to look back to answer a question of his own beliefs. The texture of this work is different from every work he used to create. The simplicity is a key question. For the painting, he chose basic painting materials like gesso— a primer prepared for the surface of the painting— as his main material for the work’s creation like a reversal of all processes back to the beginning. Since this work’s process was newly designed, there were mistakes and changes. This time was considered learning and basic practice for his works of art again. For every brush he used and every rubbing mark for the even surface, he had to do step by step and there was not a shortcut.
อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร :ศิลปินแห่งชาติ
Panya Vijinthanasarn :Natioanal Artist
Teerawat N. Josh
ประติมากรรมพรหมวิหาร 4 (The Four Brahmavihara) ศิลปินหนุ่มผู้มีพุทธจริต ศรัทธาต่อคุณธรรมแห่งพระพรหมผู้สร้าง - ปางอุ้มปลา คือ สร้างฝันให้เป็นจริงด้วย 2 มือที่เปี่ยมศรัทธาที่จะสร้างฝันให้เป็นรูป - รูปแห่งพรหม
ประติมากรรมพรหมวิหาร 4 (The Four Brahmavihara) ศิลปินหนุ่มผู้มีพุทธจริต ศรัทธาต่อคุณธรรมแห่งพระพรหมผู้สร้าง - ปางอุ้มปลา คือ สร้างฝันให้เป็นจริงด้วย 2 มือที่เปี่ยมศรัทธาที่จะสร้างฝันให้เป็นรูป - รูปแห่งพรหม
Teerawat N. Josh
ธีรวัฒน์ นุชเจริญผล
ธีรวัฒน์ นุชเจริญผล
อาจารย์เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์:ศิลปินแห่งชาติ
Chalermchai Kositpipat:Natioanal Artist
Installation. ของศิลปินสายธรรมะ ธรรมชาติ : จิรนันท์ จุลบท
Artist : Jiranan Julrabot
A print artist who tries to find her own way away from a printing press. She then chooses to use natural materials as her molds. Leaves, trees, vegetables, and fruits are used as main materials for the creation of works. the work called “Essence-Form”— the large form of the Buddha image affixed by dyed petals of mulberry paper, its weight determined by a process of light and shadow she chooses, and water-based dyeing by allowing dyes flow freely in water and then having mulberry paper dipped down as well as a dyeing process. In every step, the artist’s skills and her mental spirit are developed. This is a holistic concept of the Dharma, the nature, and the simplicity.
จีระนันท์ จุลบท : สาระ-รูป
นิทรรศการ "ศรัทธา - Faith Beyond Earth"
อาจารย์ศิลปากร ผู้เรียนจบทางด้านภาพ และมีความสนใจพยายามค้นหาเส้นทางการพิมพ์ที่หลุดออกจากแท่นพิมพ์ เธอจึงเลือกใช้ธรรมชาติมาเป็นแม่พิมพ์ในผลงาน ใบไม้ ต้นไม้ ผักและผลไม้ถูกนำมาเป็นวัตถุดิบหลักในการสร้างงาน พื้นผิวของสิ่งเหล่านี้สร้างรูปแบบเฉพาะตัวจนกลายมาเป็นเอกลักษณ์เฉพาะผลงาน ผลงาน ‘สาระ – รูป’ รูปทรงพระพุทธรูปขนาดใหญ่ถูกติดทับด้วยกลีบกระดาษสาที่ถูกย้อมสีกำหนดค่าน้ำหนัก ด้วยกระบวนการสร้างแสงเงาที่เธอเลือกใช้การย้อมเคลือบสีจากน้ำโดยการปล่อยหมึกไปเคลื่อนไหวอย่างอิสระ การติดกระดาษแต่ละชั้นแต่ละชิ้นคือการกำหนดลมหายใจและเพ่งสมาธิไปที่ตัวงาน
No comments:
Post a Comment