Thursday, March 17, 2011

Ann van de Water 16 Mar.2011





        Antoinette van de Water, founder of Bring the Elephant Home


The Bring the Elephant Home Foundation is pleased to present you The Great Elephant Escape written by Antoinette van de Water and Liesbeth Sluiter.
Street elephants are a common sight in Thailand. Some carry tourists on their back, most of them spend theirs days begging for food or money, urged on by their mahouts, the elephant caretakers. The animals are often in a bad state of health. They often sleep next to garbage dumps and walk along overcrowded highways, undernourished and with wounded feet.

In the green pastures of the Elephant Nature Park, a sanctuary in northern Thailand, traumatised elephants can recover and begin to enjoy life. Antoinette van de Water worked as a volunteer in this park and lost her heart to the clumsy little elephant Ging Mai, the big slow lady Lilly, and to all the other unchained giants. With the dream of getting every elephant off the street, she started the project ‘Bring the Elephant Home’.

The Great Elephant Escape describes the liberation of two elephants and their journey with Antoinette and her Thai team to the Elephant Nature Park. It turned out to be a breathtaking adventure through the world of flirtatious elephant traders, poor villagers, well wishing monks, and angry animal rights advocates—towards Elephant Haven on the far horizon.

The book is available in the Elephant Nature Park and in bookstores in Thailand now. Or order the book from Amazon










                                                                                                                       Janine Yasovant       

In the  Maetang district of Chiang Mai, in the Elephant Nature Park, there is a wondeful volunteer project called "Bring the Elephant Home Foundation" which was founded by Antoinette van de Water to help and preserve Thai elephants. The project was created to construct permanent habitats for this species of the SE Asian Elephant which is disappearing at an alarming rate. In 2009, the ElephantNaturePark bought additional land to grow vegetables and fruits  as food for the elephants and to build houses for guests who visit the site. The project leader is a Dutch woman with a mission that is difficult, often exhausting and continuously expensive. Recently, I had the opportunity to interview Antoinette van de Water on one of her "not quite so busy" days.

What inspired you to start Bring the Elephant Home?

"The idea of Bring the Elephant Home arose when I was doing volunteer work in the Elephant Nature Park in 2002. This is a sanctuary for retired elephants protected from a life of begging, performaning and other degrading, unhealthy activities. I fell in love with a just-rescued baby elephant, Ging Mai, that had lost his mother. The founder of the Elephant Nature Park, Sangduen 'Lek' Chailert, gave Ging Mai all the love and nurturing he needed to survive, like a surrogate mother. On a journey to Bangkok, I encountered another baby elephant in much need; begging for food on Khao San Road. The baby had such a look of terror in his eyes that I will never forget it! It broke my heart but I wasn't able to bring this begging baby elephant home to the Park. These encounters with the baby elephants and the experience at The Elephant Nature Park; left such an impression on me that I came back two years later to volunteer once again, this time I wanted to do much more. At first I was a bit shy and apprehensive, but I approached the people at the Park to discuss my dream and goal— what if I could save two street begging elephants and tour throughout Thailand with the organization to educate people about the plight of elephants? I received a lot of practical advice, concerns, support and a budget! With lots of ideas, inspiration and determination to make this happen, I returned home to the Netherlands to make this dream of mine come true. After I returned home, I registered The Bring the Elephant Home Foundation and set the wheels in motion for the fundraising activities.

How did you find the elephants you wanted to rescue?

In November 2005 I found Dok Ngeon (8 years old) at an elephant festival in Surin. Dok Ngeon looked so stressed: screaming, shaking and rocking her head. Dok Ngeon was in training to learn new tricks, like playing a mouth harmonica. It is clear to see how animal unfriendly this training was—there were a lot of scars and fresh wounds which showed this. Then and there I knew: I needed to help Dok Ngeon.

Sri Nuan (47 years old) was also a begging elephant. Her mahout (handler) told me that Sri Nuan broke her chain one night and ran away. On a rice field someone shot her with a slingshot and hit her in the eye. Her baby Nhung Nhing was sold to a show when she was only 8 months old. Traumatized by the loss of the baby, blinded on one side, she is still begging on the streets. I thought Sri Nuan would be happy to take care of Dok Ngeon a bit and Dok Ngeon could really need an aunty. Luckily we could buy both elephants.

Sri Nuan, Dok Ngeon and the elephant rescue team started a demonstration tour from Bangkok to the Elephant Nature Park in Mae Tang, 60 km north of Chiang Mai. During this tour they organized elephant lessons at schools, elephant art competitions, and brainstormed with local governments about street elephants.

What keeps you going, with still so many elephants in need?

Today Sri Nuan and Dok Ngeon are enjoying a happy life at the Elephant Nature Park, where they can spend the rest of their lives as free elephants. After arrival, Dok Ngeon was scared of all the elephants and people. But Sri Nuan protected Dok Ngeon, made sure she felt safe and made sure she was part of the newly formed family. For Dok Ngeon, it took almost half a year before she could really enjoy being a juvenile elephant. The first time I saw her playing in the mud bath with other baby elephants, my heart was smiling. One job done! Since Dok Ngeon is living in the ElephantNaturePark her behaviour changed many times: First she started to act like a baby elephant, she just couldn't get enough of rolling in the mud with the other babies. You could tell she was very proud to act like a bigger protective sister. All the time she tried to spend as much time as she could with the mother elephants in the Park. Like she wanted to learn everything about how to become a great mother. After a while she started to flirt with the bulls. In the afternoon she would just leave her family to go for a romantic walk with one of our males. A year and a half year ago her dream came true; she gave birth to her own boy: Chang Yim. Dok Ngeon is in the center of a big elephant family and surely enjoying every moment of it! To witness the happiness of Dok Ngeon, and the natural elephant life she is living now, gives me so much strength to continue our work to help more elephants. Chang Yim will grow up in freedom surrounded by his family and will never have to carry tourists on his back. For me, all elephants deserve a life like this.

How did you manage to get so many people involved in your mission and get the funding?

First of all we received lots of media coverage with the tour, both national and international media, including the Roscar Award winning documentary about the project called ´Return to the Wild´, broadcast worldwide by Animal Planet, including Thailand. And the book called The Great Elephant Escape, was published in Thailand in March 2009 by Silkworm Publishers.
People became aware of the plight of street elephants, and as a result more people visit animal friendly parks such as the Elephant Nature Park. But we still have a lot of work to do!

After this project, we had to start a new fundraising campaigns to keep supporting the elephants. For Dok Ngeon and Sri Nuan we launched an adoption program. To extend their habitat and to feed them, we bought a banana plantation and a piece of land attached to the Elephant Nature Park. I tried to convince Dutch tour companies to include the ElephantNaturePark in their programs instead of just a ride on the back of an elephant. Now most of the tour companies in the Netherlands only offer elephant-friendly tourism. 

The more I learned about elephants, the more I became aware that deforestation is the cause of many problems elephants are facing. To help elephants in Thailand, we needed to do something about that. Over the last two years, we planted over 200.000 trees for elephants in five areas where elephants are in need of room and food.
Trees draw insects, birds, and wildlife. Elephants spread the seeds, and this naturally brings in more species of trees. In this way, the environment for the wild elephants is improving step by step. Thousands of volunteers help us every year to plant and take care of the trees. And through these events we raised extra money for "Trees for Elephants" too. The Trees for Elephants project won The World of Difference award of Vodafone and the Terre des Femmes award of Yves Rocher in the Netherlands.

What is your main focus of work at the moment?

In 2010, I started to focus on a new project: to create an elephant jungle in Chiang Mai. With the support of Bring the Elephant Home, the ElephantNaturePark was able to buy a piece of new land in 2008. The property is about 150 acres, surrounded by protected forests, and with some streams running through it. The land was mainly used for cabbage plantations, so most of the forest is gone. In the coming years we have to plant many more trees that will attract birds and other wild animals. This way the natural seed distributors will automatically visit our land from the neighboring forests, and plant more tree species for us.

Slowly, the area is turning into a true elephant paradise. My dream is that soon some elephants can retire from hard work and live in this jungle in freedom, without much interaction with people. Besides respect for all animals, the project also respects the environment and the local community. We are establishing a way of life that is self-sufficient, sustainable and in harmony with the environment.
A personal dream is also coming true with this project: to live in nature, to grow our own food, to build my own house, create our own energy, be independent of society, live healthy and peacefully.

What is your vision regarding the future of Thai elephants?

I cannot imagine a future without elephants living in Thailand. And yet, elephants are disappearing. In my opinion, all elephants should be living in the wild. If this is not possible, they should be able to live in an environment as natural as possible, where they can live as normal as possible. Therefore, we focus on projects that can make this possible: elephant parks and reserves. I am aware that using elephants to make money is necessary for the survival of elephants. Bring the Elephant Home supports projects that work with elephants in a natural way, without hampering or going against the animal's natural behavior. Therefore, we plead for and support animal friendly, natural, and sustainable elephant projects. We want to help owners and mahouts find a different way to earn a living with their elephants. Where the elephants have a chance to roam, they find their own food, live together with other elephants and breed in a natural way.

With Bring the Elephant Home I focus on showing the beauty of Thai elephants and try to create positive change and work together with local people. We promote Thailand as a tourist destination and bring many visitors to share our passion for Thai elephants with us and the local people. It is my strong belief together we can successfully make a difference for Thai elephants!






                                                                  มูลนิธิพาช้างกลับบ้าน








                                                                                                                                   จานีน ยโสวันต์

ในอำเภอแม่แตงจังหวัดเชียงใหม่ ที่ศูนย์ Elephant Nature Park (สวนช้างธรรมชาติ)มีโครงการมีชื่อว่า
"Bring the elephant home พาช้างกลับบ้าน"ซึ่งก่อตั้งโดยคุณอังตัวเน็ท แวน เดอ วอเตอร์เพื่อที่จะ
ช่วยเหลือและอนุรักษ์ช้างไทย โครงการนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำการปลูกสร้างที่พักถาวรให้กับช้างสายพันธ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งกำลังจะหมดไปอย่างน่าตื่นตระหนก ในปีพ.ศ. 2552 ทางสวนช้างธรรมชาติได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมเพื่อปลูกพืชผักผลไม้เป็นอาหารสำหรับช้างและสร้างบ้านพักสำหรับแขกที่มาเยี่ยมชมสถานที่ หัวหน้าโครงการเป็นสุภาพสตรีชาวดัตช์ที่
มีภารกิจที่ยากลำบาก เหน็ดเหนื่อย และเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ไม่นานมานี้เองที่ดิฉันได้พูดคุยกับ
คุณอังตัวเน็ท แวน เดอวอเตอร์ในวันที่เธอไม่ค่อยมีธุระยุ่งนัก

คุณได้แรงบันดาลใจจากอะไรในการริเริ่มโครงการพาช้างกลับบ้าน ?

ความคิดในโครงการพาช้างกลับบ้านเริ่มขึ้นตอนที่ดิฉันทำงานเป็นอาสาสมัครที่สวนช้างธรรมชาติ ในปีพ.ศ. 2545 ที่แห่งนี้เป็นที่พักพิงและปกป้องช้างอายุมากจากชีวิตขอทาน การแสดง และกิจกรรมต่างๆที่ลดคุณค่าและไม่ดีต่อสุขภาพของช้าง ดิฉันรู้สึกหลงรักลูกช้างตัวผู้เชือกหนึ่งที่มีชื่อว่ากิ่งไม้ ลูกช้างตัวนี้พึงจะเสียแม่ไป คุณเล็ก แสงเดือน ไชยเลิศ ผู้ก่อตั้งสวน
ช้างธรรมชาติมอบความรักทั้งหมดให้กับกิ่งไม้และดูแลจนกว่าลูกช้างจะอยู่รอดปลอดภัย เธอเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนแม่ช้างที่ให้กำเนิดเลยทีเดียว
ในตอนที่เดินทางไปยังกรุงเทพ ดิฉันได้พบลูกช้างอีกเชือกหนึ่งที่ต้องการความช่วยเหลือ กำลังร้องขออาหารอยู่ที่ถนนข้าวสาร ลูกช้างแสดงความหวาดกลัวให้เห็นในแววตาซึ่งดิฉันจะไม่มีวันลืมเลย ฉันรู้สึกเศร้าใจมากแต่ก็ไม่สามารถพาช้างเชือกนี้กลับมาที่สวนช้างธรรมชาติ ด้วยได้ การพบกันกับช้างตัวน้อยๆ และประสบการณ์ที่สวนช้างธรรมชาติ นั้นได้ให้ความประทับ
ใจแก่ดิฉันจนได้กลับมาอีกครั้งในสองปีถัดมาเพื่อเป็นอาสา สมัครอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้ดิฉันต้องการจะทำให้มากไปกว่าเดิม ในตอนแรกดิฉันเป็นคนที่เหนียมอายและวิตกกังวลง่าย แต่ในตอนนี้ดิฉันได้พูดคุยกับผู้คนที่อยู่สวนช้างธรรมชาติเกี่ยวกับความฝันและเป้าหมาย จะเกิดอะไรขึ้นถ้าดิฉันสามารถช่วยเหลือช้างสองเชือกและการท่องเที่ยวทั่วทั้งประเทศไทยโดย
ให้องค์กรมาให้ความรู้ถึงเรื่องสภาพที่เลวร้ายของช้าง ดิฉันได้รับคำแนะนำเชิงปฏิบัติ ความรู้สึกเป็นห่วง การสนับสนุนและเงินงบประมาณ เมื่อมีความ
คิดมากมาย แรงบันดาลใจและความมุ่งมั่นในการทำสิ่งนี้ให้เกิดขึ้น ดิฉันเดินทางกลับบ้านที่เนเธอร์แลนด์เพื่อทำความฝันของตนเองให้เป็นจริง
หลังจากที่ดิฉันกลับมาถึงบ้านแล้วก็ไปจดทะเบียนมูลนิธิพาช้างกลับบ้านและตั้งเป้าหมายให้สำเร็จสำหรับกิจกรรมหาทุน

คุณได้หาช้างที่คุณต้องการช่วยเหลือได้อย่างไร?

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ดิฉันได้พบกับดอกเงิน"ช้างเพศเมียอายุ8 ปี" ที่งานเทศกาลช้างในจังหวัดสุรินทร์ ดอกเงินดูเครียดมาก ร้องเสียงดังและสั่นหัวไปมา ดอกเงินกำลังถูกฝึกให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆอยู่เช่นการเป่า ฮาร์โมนิก้า จะเห็นได้ชัดเลยว่าการฝึกนี้ไม่เป็นมิตรต่อสัตว์แค่ไหนเพราะมีแต่แผลเป็นและแผลสดให้เห็น จากนั้นดิฉันได้ทราบว่าจำเป็นต้องช่วย
ดอกเงิน ศรีนวล(อายุ 47 ปี) ก็เป็นช้างขอทานเช่นกัน ควาญช้างเจ้าของบอกดิฉันว่าในคืนหนึ่งศรีนวลดึงโซ่ขาดแล้ววิ่งหนีไป ตรงแถวนาข้าวมีคนยิงหนังสติ๊กใส่ที่ดวงตาของศรีนวล ลูกของช้างศรีนวลถูกขายให้กับงานแสดงเมื่อมีอายุได้แปดเดือน แม้จะโศกเศร้าเพราะเสียลูกไปและตาบอดไปข้างหนึ่ง ช้างศรีนวลยังคงขอทานตามถนนต่อไป ดิฉันคิดว่าศรีนวลคงมี
ความสุขที่ได้ดูแลดอกเงินบ้างเล็กน้อย และดอกเงินก็ต้องการป้าสักคนหนึ่ง โชคดีที่เราสามารถซื้อได้ทั้งสองเชือก ศรีนวล ดอกเงิน และทีมงานช่วยเหลือช้างได้จัดแสดงทัวร์จากกรุงเทพไปยังสวนช้างธรรมชาติที่แม่แตงทางเหนือจากเมืองเชียงใหม่ 60 กิโลเมตรในระหว่างการนี้ได้มีการจัดเตรียมบทเรียนของช้างที่โรงเรียน การแข่งขันงานศิลปะของช้างและการ
รวบรวมความคิดกับหน่วยงานท้องถิ่นของรัฐเกี่ยวกับเรื่องช้างที่อยู่ตามท้องถนน

อะไรที่ทำให้คุณทำงานต่อไปแม้ว่าจะมีช้างอีกหลายเชือกที่ต้องการความช่วยเหลือ ?

ทุกวันนี้ศรีนวลและดอกเงินมีความสุขกับชีวิตที่สวนช้างธรรมชาติ สถานที่ที่ สามารถใช้ที่เหลือของชีวิตเป็นช้างอิสระ ในตอนที่มาถึงดอกเงินกลัวช้างทุกเชือกและผู้คนที่นั่น แต่ศรีนวลปกป้องดอกเงิน ทำให้ดอกเงินรู้สึกปลอดภัยและทำให้แน่ใจว่าเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวที่สร้างขึ้นมาใหม่
ดอกเงินใช้เวลาปรับตัวประมาณครึ่งปีก่อนที่มีความสุขกับการเป็นช้างวัยรุ่นครั้งแรกที่ดิฉันเห็นดอกเงินเล่นอยู่ในอ่างโคลนกับช้างเชือกอื่นๆ หัวใจของดิฉันยิ้ม งานแรกเสร็จสิ้นไปแล้ว ตั้งแต่ที่ดอกเงินมาอยู่ที่สวนช้างธรรมชาติก็ได้เปลี่ยนพฤติกรรมไปหลายครั้ง ตอนแรกทำตัวเป็นเหมือนช้างเด็กที่ไม่ เคยรู้สึกพอกับการกลิ้งตัวในโคลนกับช้างเชือกอื่นๆ คุณสามารถที่จะบอกได้ว่าดอกเงินรู้สึกภาคภูมิใจที่ทำตัวเป็นพี่สาวคนโต ตลอดเวลาดอกเงินพยายามที่จะใช้เวลาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้กับช้างผู้ใหญ่หลายเชือกที่อาศัยอยู่ในสวนแห่งนี้เหมือนว่าเธอต้องการจะเรียนรู้ทุกสิ่งเกี่ยวกับการเป็นแม่ที่ดี
 สักพักหนึ่งก็เริ่มไปหยอกล้อเล่นกับวัวกระทิง ในตอนกลางวันก็ ปล่อยครอบครัวแล้วไปเดินเล่นกับช้างหนุ่มเชือกหนึ่งที่อยู่ในสวน หนึ่งปี ครึ่งก่อนหน้านี้ความฝันของดอกเงินก็กลายเป็นจริง ดอกเงินได้ให้กำเนิดลูกช้างตัวผู้ที่มีชื่อว่าช้างยิ้ม ดอกเงินจึงเป็นศูนย์กลางของครอบครัวช้างขนาดใหญ่และมีความสุขตลอดเวลาในครอบครัว เพื่อเป็นพยานให้กับความสุขของดอกเงินและชีวิตธรรมชาติที่เป็นอยู่ในตอนนี้ ทำให้ดิฉันมีแรงที่จะดำเนินงานต่อไปเพื่อที่จะช่วยเหลือช้างได้มากขึ้น ช้างยิ้มจะเติบโต
อย่างมีอิสระล้อมรอบไปด้วยครอบครัวและไม่ต้องบรรทุกนักท่องเที่ยวไว้บนหลัง ดิฉันมีความเห็นว่าช้างทุกตัวสมควรที่จะมีชีวิตที่ดีในลักษณะนี้

คุณได้รับการสนับสนุนมากมายจาผู้คนที่เกี่ยวข้องในภารกิจของคุณ และเงินทุนมาได้อย่างไร ?

ในอันดับแรกดิฉันและทีมงานได้รับการขอเข้ามาถ่ายทำจากสื่อมวลชนทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งสารคดีที่ได้รับรางวัลRoscar Award ใน โครงการที่มีชื่อว่า"Return to the wild" ที่ออกอากาศไปทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยทางช่องAnimal planet และหนังสือที่มีชื่อว่า"the GreatElephant Escape" ที่ได้ตีพิมพ์ในประเทศไทยในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552
โดยสำนักพิมพ์Silkworm ทุกคนทราบถึงความลำบากของช้างตามถนนผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าทุกคนต่างมาเยี่ยมสวนที่เป็นมิตรกับสัตว์เช่นที่สวน ช้างธรรมชาติแห่งนี้ แต่ดิฉันและทีมงานก็ยังมีงานอีกมากมายที่ต้องทำภายหลังจากก่อตั้งโครงการนี้ดิฉันและทีมงานจะเริ่มทำโครงการหาทุนสนับสนุนช้าง สำหรับดอกเงินและศรีนวลก็มีโครงการช่วยกันรับเลี้ยงดู ใน
การที่จะขยายที่อยู่และให้อาหารก็มีการซื้อแปลงปลูกกล้วยและที่ดิน 1แปลงที่ติดกับสวนช้างธรรมชาติ ดิฉันได้พูดคุยกับบริษัททัวร์ของประเทศเนเธอร์แลนด์ให้รวมสวนช้างธรรมชาติเข้าร่วมในโปรแกรมทัวร์แทนที่จะมาเพียงแค่ขี่หลังช้างเท่านั้น ในตอนนี้บริษัททัวร์ทั้งหมดในเนเธอร์แลนด์มีแต่การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อช้าง
ยิ่งดิฉันเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับช้างมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งทราบว่าการตัดไม้ทำลายป่าเป็นสาเหตุของหลายๆปัญหาที่ช้างได้ประสบอยู่ จะช่วยเหลือช้างในประเทศไทยก็ต้องทำอะไรสักอย่างกับปัญหานั้น สองปีที่ผ่านมาดิฉันและทีมงานได้ปลูกต้นไม้ไปมากกว่า 200,000 ต้นเพื่อช้างใน 5 พื้นที่ที่ช้างต้องการที่อยู่และอาหาร ต้นไม้จะนำพาแมลง นก และสัตว์ป่าเข้ามาพัก
อาศัย ช้างได้ช่วยขยายพันธ์เมล็ดพืชและสิ่งนี้ตามธรรมชาติก็จะนำพืชอีกหลายสายพันธุ์ ด้วยวิธีนี้สภาพแวดล้อมสำหรับช้างป่าก็จะพัฒนาขึ้นเป็นลำดับขั้นตอน อาสาสมัครหลายพันคนช่วยปลูกและดูแลต้นไม้ และด้วย
เหตุการณ์นี้ก็ได้มีการมอบเงินเพิ่มเติมสำหรับโครงการ"Trees forelephants" (ป่าไม้สำหรับช้าง) ด้วยเช่นกัน โครงการป่าไม้สำหรับช้างชนะ
รางวัล The World of Difference award of Vodafone และ the Terredes Femmes award of Yves Rocher ในประเทศเนเธอร์แลนด์

อะไรเป็นสึ่งสำคัญของงานในช่วงเวลานี้ ?

ในช่วงปีพ.ศ. 2553เป็นต้นมาดิฉันได้เน้นในเรื่องโครงการสร้างป่าไม้สำหรับช้างขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิพาช้างกลับบ้าน สวนช้างธรรมชาติได้ซื้อที่ดิน 1 แปลงในปีพ.ศ. 2551 ขนาดที่ดินประมาณ 150 เอเคอร์ ล้อมรอบไปด้วยเขตป่าสงวนและมีแม่น้ำไหลผ่าน
ที่ดินโดยทั่วไปใช้ปลูกพืชผักเลยไม่มีป่าเหลือแล้ว ในอีกหลายปีต่อมาได้มี การปลูกต้นไม้มากขึ้นเพื่อเป็นการดึงดูดนกและสัตว์ป่า ด้วยวิธีการนี้ผู้ขยายพันธ์เมล็ดพืชตามธรรมชาติจากป่าใกล้เคียงก็จะมาเยี่ยมโดยอัตโนมัติและช่วยปลูกต้นไม้หลากหลายสายพันธ์ ผ่านไปอย่างช้าๆ พื้นที่นี้กำลังจะกลายเป็นสวรรค์ที่แท้จริงของช้าง ความฝันของดิฉันคือช้างสามารถพักผ่อนจากการทำงานหนักและอาศัยอยู่อย่างอิสระในป่าแห่งนี้โดยที่แทบจะไม่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คน นอกเหนือไปจากความเคารพสัตว์ทั้ง

หมดแล้วโครงการนี้ก็ยังเคารพสภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นอีกด้วยดิฉันและทีมงานได้จัดตั้งวิถีชีวิตที่อยู่อย่างพอเพียง มั่นคงยั่งยืนและมีความกลมเกลียวกับสภาพแวดล้อม ความฝันส่วนตัวของดิฉันคือโครงการนี้อาศัยอยู่กับธรรมชาติ ปลูกพืชของตนเอง ก่อสร้างบ้านของตัวเอง สร้างพลังงานให้กับตัวเอง ไม่ต้องขึ้นอยู่กับสังคม อยู่อย่างสุขภาพดีและสุขสงบ

อะไรเป็นมุมมองของคุณที่มีต่ออนาคตของช้างไทย ?

ดิฉันไม่สามารถจินตนาการถึงอนาคตที่ไม่มีช้างอาศัยอยู่ในประเทศไทย และช้างก็หายไปเรื่อยๆ ดิฉันคิดว่าช้างทุกตัวควรอาศัยอยู่ในป่า ถ้าสิ่งนี้ยัง เป็นไปไม่ได้ ช้างเหล่านั้นควรอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ มีชีวิตอยู่อย่างธรรมดาเท่าที่จะเป็นไปได้ ดังนั้นจึงได้เน้นให้โครงการสามารถทำสิ่งเหล่านี้ให้เป็นจริง สวนช้างและอ่างเก็บน้ำ ดิฉันทราบว่าการใช้ช้าง
เพื่อการหาเงินนั้นจำเป็นต่อการอยู่รอดของช้าง โครงการพาช้างกลับบ้านนั้นสนับสนุนการทำงานกับช้างตามวิธีธรรมชาติ ไม่มีการรังแกและไปยุ่งกับพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตว์ เพราะฉะนั้น ดิฉันขอร้องให้สนับสนุนโครงการเป็นมิตรต่อช้างที่มีความเป็นธรรมชาติและมั่นคงยั่งยืน ดิฉันและทีมงานอยากจะช่วยเจ้าของและควาญช้างค้นหาวิธีอื่นๆที่สร้างรายได้และ
ให้ช้างมีโอกาสได้เดินป่าหาอาการกินเอง อยู่กับช้างตัวอื่นๆและมีการเพาะพันธุ์ช้างโดยวิธีธรรมชาติ โครงการพาช้างกลับบ้านได้เน้นในเรื่องความงดงามของช้างไทยและพยายามสร้างการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกและทำงานร่วมกันกับคนในชุมชน ได้มีการสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นจุดมุ่งหมายแห่งการท่องเที่ยวและพานักท่องเที่ยวมาแบ่งปันความรักชอบ
ช้างไทยกับทีมงานของเราและคนในชุมชน ความเชื่อมั่นที่แข็งแกร่งของดิฉันคือการสร้างความแตกต่างเพื่อช้างไทยได้ด้วยความสำเร็จ























































































































































































Temp song